จากการประกาศเจตนารมณ์เป็นองค์กร 4.0 ของกรมพัฒนาที่ดิน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาหมอดินอาสา ให้เป็น Smart Farmer จึงได้จัดโครงการอบรมดังกล่าว เพื่อสร้างเครือข่ายหมอดินอาสาในด้านสาขาวิชาการต่างๆ เพื่อเรียนรู้การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อถอดบทเรียน พัฒนาปัญญาประดิษฐ์หมอดินถามตอบ และเพื่อศึกษาดูงานเพิ่มพูนประสบการณ์ของหมอดินอาสา

           การจัดโครงการนี้จึงเน้นการมีส่วนร่วมทางด้านความคิดของหมอดินอาสาเพื่อนำแนวคิด ข้อมูลมาต่อยอดพัฒนาการเกษตรให้ตรงตามความต้องการของเกษตรกรอย่างแท้จริง การถอดบทเรียน ระดมความคิด หาจุดเชื่อม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินเพื่อบรรเทาภาวะภัยแล้ง การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศกรมพัฒนาที่ดิน เกษตรอินทรีย์และการลดใช้สารเคมีทางการเกษตร รวมไปถึงวิธีการทดแทน 3 สารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น จากนั้นหมอดินกว่า 500 คน ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อนเครือข่ายหมอดินอาสา

           “เราเชิญหมอดินทุกระดับมาอบรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดมีการแลกเปลี่ยนในการถอดบทเรียนต่างๆ จากประสบการณ์ของตัวหมอดิน และนำมาสังเคราะห์ สกัด และตกผลึก เป็น "ถังหมอดิน" คือเป็นฐานความรู้วิชาการด้านต่างๆ ซึ่งทางกรมพัฒนาที่ดิน จะได้นำถังหมอดินเหล่านี้ นำไปพัฒนาเป็นปัญญาประดิษฐ์ ในลักษณะการถาม-ตอบ (AI - Chatbot) สำหรับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ให้หมอดินอาสาได้ใช้ในการแนะนำเกษตรกรต่อไป” ...อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กล่าวทิ้งท้าย ">
           จากการประกาศเจตนารมณ์เป็นองค์กร 4.0 ของกรมพัฒนาที่ดิน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาหมอดินอาสา ให้เป็น Smart Farmer จึงได้จัดโครงการอบรมดังกล่าว เพื่อสร้างเครือข่ายหมอดินอาสาในด้านสาขาวิชาการต่างๆ เพื่อเรียนรู้การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อถอดบทเรียน พัฒนาปัญญาประดิษฐ์หมอดินถามตอบ และเพื่อศึกษาดูงานเพิ่มพูนประสบการณ์ของหมอดินอาสา

           การจัดโครงการนี้จึงเน้นการมีส่วนร่วมทางด้านความคิดของหมอดินอาสาเพื่อนำแนวคิด ข้อมูลมาต่อยอดพัฒนาการเกษตรให้ตรงตามความต้องการของเกษตรกรอย่างแท้จริง การถอดบทเรียน ระดมความคิด หาจุดเชื่อม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินเพื่อบรรเทาภาวะภัยแล้ง การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศกรมพัฒนาที่ดิน เกษตรอินทรีย์และการลดใช้สารเคมีทางการเกษตร รวมไปถึงวิธีการทดแทน 3 สารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น จากนั้นหมอดินกว่า 500 คน ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อนเครือข่ายหมอดินอาสา

           “เราเชิญหมอดินทุกระดับมาอบรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดมีการแลกเปลี่ยนในการถอดบทเรียนต่างๆ จากประสบการณ์ของตัวหมอดิน และนำมาสังเคราะห์ สกัด และตกผลึก เป็น "ถังหมอดิน" คือเป็นฐานความรู้วิชาการด้านต่างๆ ซึ่งทางกรมพัฒนาที่ดิน จะได้นำถังหมอดินเหล่านี้ นำไปพัฒนาเป็นปัญญาประดิษฐ์ ในลักษณะการถาม-ตอบ (AI - Chatbot) สำหรับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ให้หมอดินอาสาได้ใช้ในการแนะนำเกษตรกรต่อไป” ...อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กล่าวทิ้งท้าย ">
           จากการประกาศเจตนารมณ์เป็นองค์กร 4.0 ของกรมพัฒนาที่ดิน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาหมอดินอาสา ให้เป็น Smart Farmer จึงได้จัดโครงการอบรมดังกล่าว เพื่อสร้างเครือข่ายหมอดินอาสาในด้านสาขาวิชาการต่างๆ เพื่อเรียนรู้การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อถอดบทเรียน พัฒนาปัญญาประดิษฐ์หมอดินถามตอบ และเพื่อศึกษาดูงานเพิ่มพูนประสบการณ์ของหมอดินอาสา

           การจัดโครงการนี้จึงเน้นการมีส่วนร่วมทางด้านความคิดของหมอดินอาสาเพื่อนำแนวคิด ข้อมูลมาต่อยอดพัฒนาการเกษตรให้ตรงตามความต้องการของเกษตรกรอย่างแท้จริง การถอดบทเรียน ระดมความคิด หาจุดเชื่อม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินเพื่อบรรเทาภาวะภัยแล้ง การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศกรมพัฒนาที่ดิน เกษตรอินทรีย์และการลดใช้สารเคมีทางการเกษตร รวมไปถึงวิธีการทดแทน 3 สารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น จากนั้นหมอดินกว่า 500 คน ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อนเครือข่ายหมอดินอาสา

           “เราเชิญหมอดินทุกระดับมาอบรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดมีการแลกเปลี่ยนในการถอดบทเรียนต่างๆ จากประสบการณ์ของตัวหมอดิน และนำมาสังเคราะห์ สกัด และตกผลึก เป็น "ถังหมอดิน" คือเป็นฐานความรู้วิชาการด้านต่างๆ ซึ่งทางกรมพัฒนาที่ดิน จะได้นำถังหมอดินเหล่านี้ นำไปพัฒนาเป็นปัญญาประดิษฐ์ ในลักษณะการถาม-ตอบ (AI - Chatbot) สำหรับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ให้หมอดินอาสาได้ใช้ในการแนะนำเกษตรกรต่อไป” ...อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กล่าวทิ้งท้าย ">

ระดมหมอดินอาสาภาคเหนือตอนล่าง !! .. พัฒนาการเกษตร 4.0


วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
อาคารประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูกำแพงเพชร จำกัด จังหวัดกำแพงเพชร

           วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 นางสาวเบญจพร ชาครานนท์ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน ประธานเปิดโครงการอบรมหมอดิน 4.0 ปีงบประมาณ 2563 หลักสูตร "การพัฒนาเครือข่ายหมอดินอาสาอย่างเป็นระบบ" ระหว่างวันที่ 10-11 กุมภาพันธ์ 2563 โดยมีหมอดินอาสาเข้าร่วมอบรมในสังกัดสำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 9 ประกอบไปด้วย จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี ตาก และ สุโขทัย รวม 500 คน ณ อาคารประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูกำแพงเพชร จำกัด จังหวัดกำแพงเพชร

           จากการประกาศเจตนารมณ์เป็นองค์กร 4.0 ของกรมพัฒนาที่ดิน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาหมอดินอาสา ให้เป็น Smart Farmer จึงได้จัดโครงการอบรมดังกล่าว เพื่อสร้างเครือข่ายหมอดินอาสาในด้านสาขาวิชาการต่างๆ เพื่อเรียนรู้การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมพัฒนาที่ดิน เพื่อถอดบทเรียน พัฒนาปัญญาประดิษฐ์หมอดินถามตอบ และเพื่อศึกษาดูงานเพิ่มพูนประสบการณ์ของหมอดินอาสา

           การจัดโครงการนี้จึงเน้นการมีส่วนร่วมทางด้านความคิดของหมอดินอาสาเพื่อนำแนวคิด ข้อมูลมาต่อยอดพัฒนาการเกษตรให้ตรงตามความต้องการของเกษตรกรอย่างแท้จริง การถอดบทเรียน ระดมความคิด หาจุดเชื่อม แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหาอุปสรรค การแก้ไข เกี่ยวกับวิชาการด้านต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการดินเพื่อบรรเทาภาวะภัยแล้ง การใช้ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศกรมพัฒนาที่ดิน เกษตรอินทรีย์และการลดใช้สารเคมีทางการเกษตร รวมไปถึงวิธีการทดแทน 3 สารเคมีทางการเกษตร เป็นต้น จากนั้นหมอดินกว่า 500 คน ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ขับเคลื่อนเครือข่ายหมอดินอาสา

           “เราเชิญหมอดินทุกระดับมาอบรมร่วมกัน เพื่อให้เกิดมีการแลกเปลี่ยนในการถอดบทเรียนต่างๆ จากประสบการณ์ของตัวหมอดิน และนำมาสังเคราะห์ สกัด และตกผลึก เป็น "ถังหมอดิน" คือเป็นฐานความรู้วิชาการด้านต่างๆ ซึ่งทางกรมพัฒนาที่ดิน จะได้นำถังหมอดินเหล่านี้ นำไปพัฒนาเป็นปัญญาประดิษฐ์ ในลักษณะการถาม-ตอบ (AI - Chatbot) สำหรับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ให้หมอดินอาสาได้ใช้ในการแนะนำเกษตรกรต่อไป” ...อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กล่าวทิ้งท้าย

           รายงาน :  สำนักอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 
           ภาพ :  สำนักอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 
ชมห้องภาพ

ก่อนหน้ารายการหลัก •: ถัดไป