พบปะกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาบ้านหนองนาขวัญ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ ร.ต.สมพงษ์ ไชยสง ประธานกลุ่ม ปรับเปลี่ยนพื้นที่ดินเค็มไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวเป็นบ่อเลี้ยงปลา ตั้งแต่ปี 2543 พันธุ์ปลาที่เลี้ยงได้แก่ ปลากระพง ปลานิล ปลายี่สก โดยผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งละว้าลงในบ่อดินธรรมชาติ วัดค่าความเค็มของน้ำปกติ อยู่ระหว่าง 2-3 ds/m และ 5-8 ds/m ในฤดูแล้ง ซึ่งให้ผลผลิตดี มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด. มีการจัดการแบบระบบปิดไม่ปล่อยของเสียลงแหล่งน้ำหลักและขยายผลความสำเร็จไปยังพื้นที่ใกล้เคียง สร้างรายได้เสริมรวมมากกว่า 4 ล้านบาท/ปี

จากนั้นเดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของนางระเบียบ สละ ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ และนายบุญมี โสมาเกตุ ต.เปือยใหญ่ อ.โนนศิลา ประธานศพก. ที่ได้พัฒนาที่พื้นที่เป็นเกษตรผสมผสานลดการใช้สารเคมี มาตรฐาน GAP ปรับปรุงดินโดยใช้พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถปลูกพืชผัก สร้างรายได้เสริมประมาณ 1,000-2,000 บาท/สัปดาห์

อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินกล่าวว่า การพัฒนาพื้นที่ดินเค็มเพื่อการใช้ประโยชน์ หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรเอกชนได้เข้าให้คำแนะนำความรู้ การจัดการด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การให้ความร่วมมือของเกษตรกรถือเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาที่เช่นกัน เพื่อการเกษตรที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป ">
พบปะกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาบ้านหนองนาขวัญ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ ร.ต.สมพงษ์ ไชยสง ประธานกลุ่ม ปรับเปลี่ยนพื้นที่ดินเค็มไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวเป็นบ่อเลี้ยงปลา ตั้งแต่ปี 2543 พันธุ์ปลาที่เลี้ยงได้แก่ ปลากระพง ปลานิล ปลายี่สก โดยผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งละว้าลงในบ่อดินธรรมชาติ วัดค่าความเค็มของน้ำปกติ อยู่ระหว่าง 2-3 ds/m และ 5-8 ds/m ในฤดูแล้ง ซึ่งให้ผลผลิตดี มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด. มีการจัดการแบบระบบปิดไม่ปล่อยของเสียลงแหล่งน้ำหลักและขยายผลความสำเร็จไปยังพื้นที่ใกล้เคียง สร้างรายได้เสริมรวมมากกว่า 4 ล้านบาท/ปี

จากนั้นเดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของนางระเบียบ สละ ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ และนายบุญมี โสมาเกตุ ต.เปือยใหญ่ อ.โนนศิลา ประธานศพก. ที่ได้พัฒนาที่พื้นที่เป็นเกษตรผสมผสานลดการใช้สารเคมี มาตรฐาน GAP ปรับปรุงดินโดยใช้พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถปลูกพืชผัก สร้างรายได้เสริมประมาณ 1,000-2,000 บาท/สัปดาห์

อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินกล่าวว่า การพัฒนาพื้นที่ดินเค็มเพื่อการใช้ประโยชน์ หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรเอกชนได้เข้าให้คำแนะนำความรู้ การจัดการด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การให้ความร่วมมือของเกษตรกรถือเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาที่เช่นกัน เพื่อการเกษตรที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป ">
พบปะกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาบ้านหนองนาขวัญ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ ร.ต.สมพงษ์ ไชยสง ประธานกลุ่ม ปรับเปลี่ยนพื้นที่ดินเค็มไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวเป็นบ่อเลี้ยงปลา ตั้งแต่ปี 2543 พันธุ์ปลาที่เลี้ยงได้แก่ ปลากระพง ปลานิล ปลายี่สก โดยผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งละว้าลงในบ่อดินธรรมชาติ วัดค่าความเค็มของน้ำปกติ อยู่ระหว่าง 2-3 ds/m และ 5-8 ds/m ในฤดูแล้ง ซึ่งให้ผลผลิตดี มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด. มีการจัดการแบบระบบปิดไม่ปล่อยของเสียลงแหล่งน้ำหลักและขยายผลความสำเร็จไปยังพื้นที่ใกล้เคียง สร้างรายได้เสริมรวมมากกว่า 4 ล้านบาท/ปี

จากนั้นเดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของนางระเบียบ สละ ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ และนายบุญมี โสมาเกตุ ต.เปือยใหญ่ อ.โนนศิลา ประธานศพก. ที่ได้พัฒนาที่พื้นที่เป็นเกษตรผสมผสานลดการใช้สารเคมี มาตรฐาน GAP ปรับปรุงดินโดยใช้พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถปลูกพืชผัก สร้างรายได้เสริมประมาณ 1,000-2,000 บาท/สัปดาห์

อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินกล่าวว่า การพัฒนาพื้นที่ดินเค็มเพื่อการใช้ประโยชน์ หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรเอกชนได้เข้าให้คำแนะนำความรู้ การจัดการด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การให้ความร่วมมือของเกษตรกรถือเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาที่เช่นกัน เพื่อการเกษตรที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป ">

การบริหารจัดการพื้นที่ดินเค็มของจังหวัดขอนแก่น


วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2562
จ.ขอนแก่น

           วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2562 นางสาวเบญจพร ชาครานนท์ อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน หัวหน้าส่วนราชการ และเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดินลงพื้นที่ดินเค็มที่มีการบริหารจัดการพัฒนาแบบต่าง ๆ

จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ดินเค็ม มากกว่า 1 ล้านไร่ ไม่สามารถทำการเกษตร ผลผลิตและคุณภาพต่ำ กลายเป็นพื้นที่รกร้าง แห้งแล้ง กรมพัฒนาที่ดินได้หาวิธีการพัฒนาพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานราชการ เอกชน สถาบันการศึกษา และเกษตรกร

"เมืองเพีย" โมเดลเป็นพื้นที่พบเกลือจำนวนมากไม่เหมาะสมทำการเกษตร จึงมีโครงการพัฒนาพื้นที่การใช้ประโยชน์ตามศักยภาพของดิน ในพื้นที่ลุ่มน้ำโขง ชี มูล โดยวิธีการทางด้านวิศวกรรมปรับรูปแปลงนาและปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม เป็นพืชเบิกนำ เช่น อคาเซีย ยูคาลิปตัส พืชปุ๋ยสด ป้องกันการแพร่กระจายของดินเค็ม และปรับระบบนิเวศ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2543 ปัจจุบันสามารถปลูกพืชให้ผลผลิตได้มากขึ้น

พบปะกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาบ้านหนองนาขวัญ ต.เมืองเพีย อ.บ้านไผ่ ร.ต.สมพงษ์ ไชยสง ประธานกลุ่ม ปรับเปลี่ยนพื้นที่ดินเค็มไม่เหมาะสมกับการปลูกข้าวเป็นบ่อเลี้ยงปลา ตั้งแต่ปี 2543 พันธุ์ปลาที่เลี้ยงได้แก่ ปลากระพง ปลานิล ปลายี่สก โดยผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำแก่งละว้าลงในบ่อดินธรรมชาติ วัดค่าความเค็มของน้ำปกติ อยู่ระหว่าง 2-3 ds/m และ 5-8 ds/m ในฤดูแล้ง ซึ่งให้ผลผลิตดี มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของตลาด. มีการจัดการแบบระบบปิดไม่ปล่อยของเสียลงแหล่งน้ำหลักและขยายผลความสำเร็จไปยังพื้นที่ใกล้เคียง สร้างรายได้เสริมรวมมากกว่า 4 ล้านบาท/ปี

จากนั้นเดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรของนางระเบียบ สละ ต.หัวหนอง อ.บ้านไผ่ และนายบุญมี โสมาเกตุ ต.เปือยใหญ่ อ.โนนศิลา ประธานศพก. ที่ได้พัฒนาที่พื้นที่เป็นเกษตรผสมผสานลดการใช้สารเคมี มาตรฐาน GAP ปรับปรุงดินโดยใช้พืชปุ๋ยสด ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถปลูกพืชผัก สร้างรายได้เสริมประมาณ 1,000-2,000 บาท/สัปดาห์

อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินกล่าวว่า การพัฒนาพื้นที่ดินเค็มเพื่อการใช้ประโยชน์ หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรเอกชนได้เข้าให้คำแนะนำความรู้ การจัดการด้านต่างๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ การให้ความร่วมมือของเกษตรกรถือเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาที่เช่นกัน เพื่อการเกษตรที่เหมาะสมและยั่งยืนต่อไป

           รายงาน :  สำนักอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 
           ภาพ :  สำนักอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 
ชมห้องภาพ

ก่อนหน้ารายการหลัก •: ถัดไป