• สถานีเกษตรหลวงปางดะ อำเภอสะเมิง เชียงใหม่ เป็นสถานีวิจัยหนึ่งในสี่ ของมูลนิธิโครงการหลวง เป็นศูนย์การเรียนรู้การขยายพันธุ์ไม้ผล ให้กับผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาศึกษาดูงาน และฝึกงานของนักศึกษา พร้อมกับการใช้พื้นที่อย่างถูกต้องบนพื้นฐานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระยะทางห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 45 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 50 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

           1.) สถานีเกษตรหลวง ซึ่งดำเนินงานวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกเขตร้อน พืชผัก พืชไร่ ไม้ผลขนาดเล็ก ไม้ผลเขตหนาว ควบคู่ไปกับงานทดสอบสาธิต ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับเกษตรกร
           2.) หน่วยวิจัยส้มโป่งน้อย ซึ่งดำเนินงานเกี่ยวกับงานวิจัยส้มปลอดโรค ทดสอบสาธิตการผลิตและงานขยายพันธุ์ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 1 จ.เชียงใหม่">
           • สถานีเกษตรหลวงปางดะ อำเภอสะเมิง เชียงใหม่ เป็นสถานีวิจัยหนึ่งในสี่ ของมูลนิธิโครงการหลวง เป็นศูนย์การเรียนรู้การขยายพันธุ์ไม้ผล ให้กับผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาศึกษาดูงาน และฝึกงานของนักศึกษา พร้อมกับการใช้พื้นที่อย่างถูกต้องบนพื้นฐานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระยะทางห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 45 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 50 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

           1.) สถานีเกษตรหลวง ซึ่งดำเนินงานวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกเขตร้อน พืชผัก พืชไร่ ไม้ผลขนาดเล็ก ไม้ผลเขตหนาว ควบคู่ไปกับงานทดสอบสาธิต ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับเกษตรกร
           2.) หน่วยวิจัยส้มโป่งน้อย ซึ่งดำเนินงานเกี่ยวกับงานวิจัยส้มปลอดโรค ทดสอบสาธิตการผลิตและงานขยายพันธุ์ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 1 จ.เชียงใหม่">
           • สถานีเกษตรหลวงปางดะ อำเภอสะเมิง เชียงใหม่ เป็นสถานีวิจัยหนึ่งในสี่ ของมูลนิธิโครงการหลวง เป็นศูนย์การเรียนรู้การขยายพันธุ์ไม้ผล ให้กับผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาศึกษาดูงาน และฝึกงานของนักศึกษา พร้อมกับการใช้พื้นที่อย่างถูกต้องบนพื้นฐานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระยะทางห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 45 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 50 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

           1.) สถานีเกษตรหลวง ซึ่งดำเนินงานวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกเขตร้อน พืชผัก พืชไร่ ไม้ผลขนาดเล็ก ไม้ผลเขตหนาว ควบคู่ไปกับงานทดสอบสาธิต ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับเกษตรกร
           2.) หน่วยวิจัยส้มโป่งน้อย ซึ่งดำเนินงานเกี่ยวกับงานวิจัยส้มปลอดโรค ทดสอบสาธิตการผลิตและงานขยายพันธุ์ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 1 จ.เชียงใหม่">

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน ชวนเยี่ยมชม สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และสถานีเกษตรหลวงปางดะ


วันเสาร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2558
จ.เชียงใหม่

           • สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ตั้งอยู่ที่ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 3,500 ไร่ เป็นสถานที่ อนุรักษ์และรวบรวมพรรณไม้เป็นหมวดหมู่ตามวงศ์สกุลต่างๆ โดยจัดปลูกให้สอดคล้องกับธรรมชาติมากที่สุดโดย เฉพาะกลุ่มอาคาร เรือนกระจกบนยอดเขาที่มีทั้งความสวยงามและความรู้ ทำให้สวนแห่งนี้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและ สถานที่ศึกษาธรรมชาติ ด้านพืช และ ภูมิทัศน์ที่โดดเด่นมากสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เดิมเรียกว่า "สวนพฤกษศาสตร์แม่สา" นับว่าเป็น สวนพฤกษศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ที่มีการบริหารจัดการตามมาตรฐานสากล มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิจัย และให้ความรู้ ทางด้านพฤกษศาสตร์ ครั้นเมื่อ พ.ศ. 2537 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ได้รับพระราชทานพระราชานุญาต จากสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถให้ใช้ชื่อสวนพฤกษศาสตร์แห่งนี้ว่า "สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

           • สถานีเกษตรหลวงปางดะ อำเภอสะเมิง เชียงใหม่ เป็นสถานีวิจัยหนึ่งในสี่ ของมูลนิธิโครงการหลวง เป็นศูนย์การเรียนรู้การขยายพันธุ์ไม้ผล ให้กับผู้ที่สนใจตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาศึกษาดูงาน และฝึกงานของนักศึกษา พร้อมกับการใช้พื้นที่อย่างถูกต้องบนพื้นฐานการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระยะทางห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ ประมาณ 45 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 50 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ

           1.) สถานีเกษตรหลวง ซึ่งดำเนินงานวิจัยและปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอกเขตร้อน พืชผัก พืชไร่ ไม้ผลขนาดเล็ก ไม้ผลเขตหนาว ควบคู่ไปกับงานทดสอบสาธิต ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับเกษตรกร
           2.) หน่วยวิจัยส้มโป่งน้อย ซึ่งดำเนินงานเกี่ยวกับงานวิจัยส้มปลอดโรค ทดสอบสาธิตการผลิตและงานขยายพันธุ์ ศูนย์สาธิตการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกด้านป่าไม้ที่ 1 จ.เชียงใหม่

           รายงาน :  ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน 
           ภาพ :  ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 กรมพัฒนาที่ดิน 
ชมห้องภาพ

ก่อนหน้ารายการหลัก •: ถัดไป